ใครเคยรู้บ้างว่าเด็กเริ่มเรียนรู้ทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ตั้งแต่เกิด?
นักวิทยาศาสตร์เคยศึกษาวิจัยทั้งในสัตว์ทดลองและเด็กวัยทารกเกี่ยวกับเรื่องการรับรู้ด้านจำนวน ด้วยการสังเกตเห็นว่านกจะเลือกจิกกินอาหารจากกองที่มีมากกว่า เด็กทารกสนใจจ้องมองมากขึ้นชัดเจนเมื่อจำนวนจุดขนาดใหญ่ที่รวมกลุ่มอยู่เปลี่ยนไป
นักวิจัยเชื่อว่าการรับรู้และความเข้าใจเรื่องจำนวนของเด็กทารกและสัตว์เป็นสิ่งที่ติดตัวมาเบื้องต้นเพื่อการอยู่รอด และเนื่องจากสมองของมนุษย์ถูกกำหนดมาให้พร้อมต่อจากการเรียนรู้เพิ่มเติม จึงค่อยๆเรียนรู้ทักษะอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากสิ่งต่างๆรอบตัว อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจำกัดด้านการแสดงออก ไม่ว่าจะเป็นด้านการพูดหรือการกระทำ ผู้เลี้ยงดูเด็กจึงมักไม่สามารถสังเกตเห็นได้ว่าเด็กกำลังเรียนรู้อะไรบ้าง คนส่วนมากเข้าใจว่าเด็กเริ่มเรียนรู้และเข้าใจทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์เฉพาะเมื่อเด็กเริ่มนับ 1 2 3 ได้ ซึ่งทำได้ที่อายุประมาณ 2 ปีเป็นต้นไป
หลักการเรียนรู้ด้านการคำนวณหรือคณิตศาสตร์ในช่วงแรกของชีวิตมีองค์ประกอบต่างๆมากกว่าเพียงการนับ เช่น ขนาด ปริมาณ มิติสัมพันธ์ รูปทรง เป็นต้น ในต่างประเทศมีนักวิจัยจากหลากหลายสาขา ได้แก่ นักจิตวิทยาด้านการศึกษา แพทย์ นักวิทยาศาสตร์ด้านสมอง ให้ความสนใจปัญหาการเรียนของเด็กที่ไม่สามารถเรียนรู้ทักษะด้านคณิตศาสตร์ได้เหมือนเด็กอื่นๆในวัยเดียวกัน หรือที่เรียกว่าเป็นแอลดีด้านคณิตศาสตร์ แอลดีหมายถึง learning disability (LD) ซึ่งมีทั้งที่บกพร่องด้านการอ่าน การคำนวณ และการเขียน
ข้อค้นพบต่างๆจากงานวิจัยในเด็กกลุ่มดังกล่าวนี้ ร่วมกับการศึกษาความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กปกติ ทำให้ได้ข้อสรุปว่าเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ในช่วงอนุบาลและวัยประถมศึกษาได้ดีเป็นปกติ ต้องมีทักษะการรับรู้เรื่องจำนวนในช่วงปฐมวัยเป็นพื้นฐานมาก่อน ซึ่งไม่ใช่เพียงการนับเลขได้เก่งเท่านั้น ความสามารถทางภาษาที่พูดได้ จดจำได้ ช่วยให้เด็กจำนวนมากท่องจำการนับ 1 2 3…. ได้โดยง่าย แต่เด็กส่วนหนึ่งไม่เข้าใจว่าที่นับหมายถึงอะไร การสอนให้เด็กจดจำเพียงตัวเลข ก็ไม่สามารถช่วยให้เด็กเข้าใจเรื่องจำนวนอย่างที่ควรเป็น
จึงอาจกล่าวได้ว่ากว่าจะถึงอนุบาล ก็สายเสียแล้ว (ที่จะเรียนเลขได้เข้าใจอย่างแท้จริง)
วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2552
หน่วยข้าว
แผนการสอนที่ 1
เรื่อง ข้าวมหัศจรรย์
ผู้สอน นางสาวพัชนี แบ่งเพชร
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้เด็กรู้จักชนิดของข้าว เช่น ข้าวสาร ข้าวเปลือก ข้าวสวย ข้าวเหนียว
2.เพื่อให้เด็กรู้จักลักษณะของข้าว
3.เพื่อให้เด็กรู้จักการนำข้าวมาประกอบอาหาร
4. เพื่อให้เด็กรู้ถึงประโยชน์ของข้าว
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่ประเภท แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนถ้วยข้าวได้
2.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่สี แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนสีของข้าวได้
3.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับข้าวว่ามีรูปทรงเป็นอย่างไร เหมือนกับอะไร ที่เด็กๆรู้จักบ้าง
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับลักษณะเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ตัวเลข 1-10 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง ส่วนประกอบของข้าว
ผู้สอน นางสาวสุนิดา ทิพประมวล
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมค่ะว่าข้าวมีส่วนประกอบอะไรบ้าง เช่น เปลือกของข้าว เมล็ดข้าว
2.ครูให้เด็กๆต่อจิกซอที่เป็นส่วนประกอบของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบของเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 3
เรื่อง ประโยชน์ของข้าว
ผู้สอน นางสาวธารทิพย์ ชิดจังหรีด
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมว่าข้าวมีประโยชน์อย่างไร
2.ครูนำภาพที่แปรรูปมาจากข้าวให้เด็กๆดู เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว แป้ง ขนมปัง
3.ครูสนทนากับเด็กๆเกี่ยวกับโทษของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ภาพโปสเตอร์ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 4
เรื่อง สถานที่
ผู้สอน นางสาววัชรา ทิพเจริญ
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆเคยเห็นข้าวจากที่ไหนบ้าง เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า นาข้าว โรงสี ยุ่งข้าว ที่บ้าน
2.ครูนำภาพจิกซอ เช่น ภาพต้นข้าวในนา
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับสถานที่พบข้าว และร่วมกันร้องเพลง
เพลงข้าว
มากินข้าวสิ มากินข้าวสิ
กับดี ดี กับดี ดี
มีทั้งแกงและต้มยำ อ่ำ อ่ำ อั้ม อร่อยดี
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
เรื่อง ข้าวมหัศจรรย์
ผู้สอน นางสาวพัชนี แบ่งเพชร
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้เด็กรู้จักชนิดของข้าว เช่น ข้าวสาร ข้าวเปลือก ข้าวสวย ข้าวเหนียว
2.เพื่อให้เด็กรู้จักลักษณะของข้าว
3.เพื่อให้เด็กรู้จักการนำข้าวมาประกอบอาหาร
4. เพื่อให้เด็กรู้ถึงประโยชน์ของข้าว
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่ประเภท แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนถ้วยข้าวได้
2.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่สี แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนสีของข้าวได้
3.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับข้าวว่ามีรูปทรงเป็นอย่างไร เหมือนกับอะไร ที่เด็กๆรู้จักบ้าง
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับลักษณะเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ตัวเลข 1-10 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง ส่วนประกอบของข้าว
ผู้สอน นางสาวสุนิดา ทิพประมวล
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมค่ะว่าข้าวมีส่วนประกอบอะไรบ้าง เช่น เปลือกของข้าว เมล็ดข้าว
2.ครูให้เด็กๆต่อจิกซอที่เป็นส่วนประกอบของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบของเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 3
เรื่อง ประโยชน์ของข้าว
ผู้สอน นางสาวธารทิพย์ ชิดจังหรีด
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมว่าข้าวมีประโยชน์อย่างไร
2.ครูนำภาพที่แปรรูปมาจากข้าวให้เด็กๆดู เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว แป้ง ขนมปัง
3.ครูสนทนากับเด็กๆเกี่ยวกับโทษของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ภาพโปสเตอร์ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 4
เรื่อง สถานที่
ผู้สอน นางสาววัชรา ทิพเจริญ
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆเคยเห็นข้าวจากที่ไหนบ้าง เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า นาข้าว โรงสี ยุ่งข้าว ที่บ้าน
2.ครูนำภาพจิกซอ เช่น ภาพต้นข้าวในนา
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับสถานที่พบข้าว และร่วมกันร้องเพลง
เพลงข้าว
มากินข้าวสิ มากินข้าวสิ
กับดี ดี กับดี ดี
มีทั้งแกงและต้มยำ อ่ำ อ่ำ อั้ม อร่อยดี
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2552
วันนี้อาจารย์ สอนเกี่ยวกับการวางแผนการจัดประสบการณ์ทางคณิศาสตร์ ในแต่ละกลุ่มมีกี่คนต้องสอนตามวัน โดยที่
คนที่ 1 สอนเกี่ยวกับลักษณะของหน่วย โดยใช้เกณฑ์อย่างเดียว เช่น สี รูปร่าง ขนาด
โดยมีการการใช้คำถาม เช่น เด็กๆดูชิคะว่ามีลักษณะเป็นยังไงบ้างคะ
คนที่ 2 สอนเกี่ยวกับส่วนประกอบของหน่วยที่ทำ โดยเราอาจมีการทบทวนความรู้เดิมต่อเนื่องจากที่เราสอนเมื่อวาน อาจจะใช้เพลง นิทาน คำคล้องจอง หรืออาจจะใช้คำถามเช่น เมื่อวานนี้เราเรียนเกี่ยวกับอะไรเด็กๆจำได้หรือเปล่ามีอะไรบ้างคะ
คนที่ 3 สอนเกี่ยวกับประโยชน์ของหน่วยที่ทำ ว่ามีประโยชน์ยังไงบ้าง อาจจะมีการเล่าเป็นนิทานที่พูดถึงประโยชน์ หรืออาจจะนำภาพมาไห้ดูเกี่ยวกับหน่วยที่เราทำ
คนที่ 1 สอนเกี่ยวกับลักษณะของหน่วย โดยใช้เกณฑ์อย่างเดียว เช่น สี รูปร่าง ขนาด
โดยมีการการใช้คำถาม เช่น เด็กๆดูชิคะว่ามีลักษณะเป็นยังไงบ้างคะ
คนที่ 2 สอนเกี่ยวกับส่วนประกอบของหน่วยที่ทำ โดยเราอาจมีการทบทวนความรู้เดิมต่อเนื่องจากที่เราสอนเมื่อวาน อาจจะใช้เพลง นิทาน คำคล้องจอง หรืออาจจะใช้คำถามเช่น เมื่อวานนี้เราเรียนเกี่ยวกับอะไรเด็กๆจำได้หรือเปล่ามีอะไรบ้างคะ
คนที่ 3 สอนเกี่ยวกับประโยชน์ของหน่วยที่ทำ ว่ามีประโยชน์ยังไงบ้าง อาจจะมีการเล่าเป็นนิทานที่พูดถึงประโยชน์ หรืออาจจะนำภาพมาไห้ดูเกี่ยวกับหน่วยที่เราทำ
วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดี ที่18 ธันวาคม 2551
สิ่งที่เรียนวันนี้ หลักการสอนคณิตศาสตร์
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณืที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่เรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอด
5.ใข้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์ของเพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8.ใช้วิธีสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9.ใช้วิธีให้เด็กมีส่วนร่วมหรือปฎิบัติการจริงๆเกี่ยวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทันทีที่โรงเรียนและบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ใขปรับปรุง
12.คาบหนึ่งควรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปหายาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวยลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งนั้นแล้ว
การเตรียมพร้อมให้เด็กเก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องฝึกให้เด็กได้มีพัฒนาการทางสายตาก่อนเป็นอันดับแรก
ถ้าหากเด็กไม่สามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเรียนรู้กับ
คณิตศาสตร์ได้
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณืที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่เรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอด
5.ใข้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์ของเพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8.ใช้วิธีสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9.ใช้วิธีให้เด็กมีส่วนร่วมหรือปฎิบัติการจริงๆเกี่ยวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทันทีที่โรงเรียนและบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ใขปรับปรุง
12.คาบหนึ่งควรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปหายาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวยลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งนั้นแล้ว
การเตรียมพร้อมให้เด็กเก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องฝึกให้เด็กได้มีพัฒนาการทางสายตาก่อนเป็นอันดับแรก
ถ้าหากเด็กไม่สามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเรียนรู้กับ
คณิตศาสตร์ได้
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 27 พฤศจิกายน 2551
ความรู้ที่ได้รับวันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับ
มาตรฐานการวัดในระบบเมตรืก
1.ศัพท์ที่เด็กควรทราบ
2.ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
3.การวัดเรื่องสัปดาห์ เช่น สัปดาห์หนึ่งมีกี่วัน
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1.เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวบยอด
2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
3.แนะนำคำศัพท์ไหม่ๆและสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4.ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5.ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6.เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทัษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
7.เปิดให้เด็กค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
มาตรฐานการวัดในระบบเมตรืก
1.ศัพท์ที่เด็กควรทราบ
2.ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
3.การวัดเรื่องสัปดาห์ เช่น สัปดาห์หนึ่งมีกี่วัน
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1.เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวบยอด
2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
3.แนะนำคำศัพท์ไหม่ๆและสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4.ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5.ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6.เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทัษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
7.เปิดให้เด็กค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
การจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมเสริมทักษะ (2) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลการพัฒนาความพร้อมในการเรียนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังใช้แผน การจัดกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 จำนวน 30 คน โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก (2) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย แผนการจัดกิจกรรมเสริมทักษะ แบบทดสอบวัดพัฒนาการความพร้อมทาง คณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน การวิจัยครั้งนี้ปรากฏว่า แผนการจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย สามารถนำไปใช้จัดประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ มีผลการพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
บทบาทของพ่อแม่เกี่ยวกับกระบวนการเรีนยรู้คณิตศาสตร์ของลูก
บทบาทของพ่อแม่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของลูก
- การเรียนรู้ของเด็กจะเริ่มในทันทีที่เด็กเกิด มิได้เริ่มเรียนรู้เมื่อไปโรงเรียน กระบวนการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่อง เริ่มที่บ้าน เรียนรู้จากประสบการณ์ จากการพูดคุยกับพ่อ แม่ พี่ น้อง จากเพื่อน และจากบุคคลอื่นรอบ ๆ ตัว พ่อแม่มีพิทธิพลต่อพัฒนาการทางการเรียนรู้ของลูกเป็นอย่างมาก เจตคติและความสนใจของพ่อแม่จะมีอิทธิพลต่อเจตคติและความสนใจต่อการเรียนรู้ของลูกด้วย
"ศิษย์เก่งเลขครูรักเป็นนักหนา" คำโบราณนี้ยังเป็นจริงอยู่ จะเห็นได้จากในปัจจุบันโรงเรียนขาดครูคณิตศาสตร์ หาครูคณิตศาสตร์ได้ยาก ในระดับอุดมศึกษา นักศึกษาเลือกเรียนคณิตศาสตร์เป็นวิชาเอกจำนวนน้อยลง จนต้องมีโครงการให้ทุนเรียนก็ยังมีผู้สมัครรับทุนไม่ครบจำนวน เพราะเรียนยาก แล้วเราจะพัฒนาประเทศได้อย่างไร ในเมื่อเทคโนโลยีทั้งหลายต้องใช้คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐาน
- ในฐานะพ่อแม่ ท่านมีโอกาสอย่างมากที่จะช่วยพัฒนา บ่มเพาะทักษะทางคณิตศาสตร์ให้แก้ลูกตั้งแต่เขายังไม่เข้าโรงเรียน
- สิ่งง่าย ๆ ที่ท่านควรจะเริ่มต้นฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ให้แก่ลูก คือการคาดคะเน หรือการเดาอย่างมีเหตุผล หรือภาษาทางคณิตศาสตร์เรียกว่าการประมาณค่า ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าในการไปจับจ่ายซื้อของ การเดินทางการหุงหาอาหาร ทำความสะอาดบ้าน การกินอยู่หลับนอน การประกอบอาชีพ ฯลฯ เรียกได้ว่าการประมาณค่าจะมีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้องในทุกอย่างก้าวของชีวิต ในฐานะผู้ใหญ่เราอาจใช้การประมาณค่าสูงถึง 80 % แทนการคิดคำนวนที่ต้องคิดอย่างถูกต้องด้วยวิธีคำนวนหรือด้วยเครื่องคิดเลข
- เมื่อการประมาณค่าเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตท่านจะช่วยลูกหลานของท่านให้มีทักษะด้านนี้ได้อย่างไรแม้ว่าโรงเรียนจะสอนเรื่องการประมาณค่า แต่ท่านสามารถเริ่มต้นได้ที่บ้านก่อนลูกเข้าโรงเรียน เมื่อใดก็ตามที่สถานการณ์อำนวยท่านสามารถเริ่มได้ทันที เช่นที่โต๊ะอาหาร มีทอดมันในจาน 8 ชิ้นพ่อแม่ ลูกอีก2 คน จะได้รับประทานคนละกี่ชิ้น หรือไปซื้อของที่ตลาดสด หรือติดแอร์ก็ตาม มีเงินไป 200 บาท เมื่อดูราคาของแล้วจะได้อะไรมาบ้างจึงจะพอดีกับเงินหรือไปรับประทานอาหารนอกบ้านมีเงินไป 500 บาท ดูรายการอาหารแล้วจะสั่งอะไรได้บ้าง เป็นต้น ได้มีการศึกษาค้นคว้าหลายเรื่อง เกี่ยวกับเรื่องเด็กและการประมาณค่า พอสรุปได้ดังนี้
ถ้าไม่มีการสอนและฝึกอบรมในเรื่องนี้ เมื่อถูกกำหนดให้ทำการประมาณค่าเด็กจะทำไม่ได้หรือได้ไม่ดี
ในชีวิตประจำวัน จะต้องกระตุ้นเด็กอยู่เสมอให้เห็นประโยชน์ของการประมาณค่า
การสอนและฝึกปฏิบัติอยู่เป็นประจำ เด็กจะสามารถประมาณได้อย่างรวดเร็ว
เด็กจะสนุกกับการประมาณค่า เมื่อเขาตระหนักถึงความสำคัญและได้เรียนรู้เทคนิดของการประมาณค่า
- ในห้องเรียนนั้นเวลาส่วนใหญ่จะใช่ไปในการคำนวนคำตอบที่ถูกต้อง ไม่มีการคำนวนคำตอบที่ใกล้เคียง ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่พ่อแม่มีส่วนช่วยเติมเต็มได้ ในชีวิตจริงเราใช้การประมาณค่ามากกว่าการหาค่าที่ถูกต้องดังกล่าวแล้วข้างต้น พ่อแม่จึงควรเสริมแรงด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดา การคาดคะเนอย่างสมเหตุควบคู่ไปกับการคำนวณคำตอบที่ถูกต้อง
- ก่อนที่เด็กจะนับเป็น เขาสามารถที่จะคาดคะเนหรือประมาณค่าได้แล้วจากการเล่น เช่น การตักทรายใส่กระป๋อง หรือการกระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง การหยิบดินสอนสีใส่กล่อง เป็นต้น เมื่อเขาเติบโตขึ้นเขาก็จะสามารถประมาณค่าจำนวนของสิ่งต่าง ๆ ในโลกได้อย่างใกล้เคียง พ่อแม่สามารถช่วยลูกให้เป็นนักประมาณค่าที่ดีโดยใช้ประสบการณ์การประมาณค่าของท่านเองคุยกับลูก เช่น ขณะที่ไปซื้อของหรือดูโฆษณาราคาของในหนังสือพิมพ์ว่าของสิ่งใดแพงหรือถูกกว่ากันเท่าไร ควรซื้ออย่างไหน เพราะอะไร หรือดูประกาศรับสมัครพนักงานว่าได้ค่าจ้างต่อเดือนเท่าไร ประมาณค่าดูว่าปี หนึ่งนายจ้างจะต้องเสียค่าจ้างเท่าไร เป็นต้น
การได้เรียนรู้เทคนิคการประมาณค่า จะยังประโยชน์หลายสถานแก่เด็กของท่านดังนี้
เนื่องจากมีการใช้เครื่องคิดเลขอย่างแพร่หลายในปัจจุบันทักษะการประมาณค่ายิ่งมีความสำคัญ มากขึ้นการประมาณค่าจะช่วยให้เด็กตระหนักถึงคำตอบที่ผิดพลาดที่ปรากฏบนเครื่องคิดเลขได้ ความตระหนักในการประมาณค่าที่เด็กใช้อยู่บ่อย ๆ ในชีวิตประจำวันจะช่วยให้เด็กเห็นประโยชน์ ของวิชาคณิตศาสตร์ ทักษะในการประมาณค่าจะช่วยทักษะในการคิดคำนวณให้ดีขึ้น โดยช่วยเด็กให้ประมาณค่าคำ ตอบได้อย่างมีเหตุผล กระบวนการประมาณค่าเกี่ยวข้องกับเทคนิคการแห้ปัญหาอย่างใกล้ชิด ขณะที่เด็กมีทักษะในการ ประมาณค่าสูงขึ้น เด็กจะพัฒนาในด้านกระบวนการคิดด้วย เมื่อเด็กรู้สึกคล่องกับกระบวนการ แล้วเด็กจะชอบประมาณค่า หน้าที่ของพ่อแม่คือช่วยให้เขาได้ พัฒนาเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
- ถ้าท่านต้องการจะช่วยให้เด็กของท่านพัฒนาทักษะด้านการประมาณ ท่านควรปฏิบัติดังนี้
- ฉวยโอกาสประมาณค่าในทุก ๆ กรณีแล้วแลกเปลี่ยนประสบการณ์และกระบวนการคิดกับเด็กของท่านเด็กของท่านก็จะได้ประโยชน์จากการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับวิธีการที่เขาได้ประมาณค่านั้น ท่านต้องเปิดใจและพร้อมที่ถกเถียงปัญหากับเขา ตัวท่านเองอาจจะได้เทคนิคใหม่ ๆ เกี่ยวกับการประมาณค่าเพิ่มขึ้นอีกก็ได้
ที่มา : ทัศนีย์ สงวนสัตย์, วารสาร สสวท. ปีที่ 25 ฉ. 96 มกราคม - มีนาคม 2540
- การเรียนรู้ของเด็กจะเริ่มในทันทีที่เด็กเกิด มิได้เริ่มเรียนรู้เมื่อไปโรงเรียน กระบวนการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่อง เริ่มที่บ้าน เรียนรู้จากประสบการณ์ จากการพูดคุยกับพ่อ แม่ พี่ น้อง จากเพื่อน และจากบุคคลอื่นรอบ ๆ ตัว พ่อแม่มีพิทธิพลต่อพัฒนาการทางการเรียนรู้ของลูกเป็นอย่างมาก เจตคติและความสนใจของพ่อแม่จะมีอิทธิพลต่อเจตคติและความสนใจต่อการเรียนรู้ของลูกด้วย
"ศิษย์เก่งเลขครูรักเป็นนักหนา" คำโบราณนี้ยังเป็นจริงอยู่ จะเห็นได้จากในปัจจุบันโรงเรียนขาดครูคณิตศาสตร์ หาครูคณิตศาสตร์ได้ยาก ในระดับอุดมศึกษา นักศึกษาเลือกเรียนคณิตศาสตร์เป็นวิชาเอกจำนวนน้อยลง จนต้องมีโครงการให้ทุนเรียนก็ยังมีผู้สมัครรับทุนไม่ครบจำนวน เพราะเรียนยาก แล้วเราจะพัฒนาประเทศได้อย่างไร ในเมื่อเทคโนโลยีทั้งหลายต้องใช้คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐาน
- ในฐานะพ่อแม่ ท่านมีโอกาสอย่างมากที่จะช่วยพัฒนา บ่มเพาะทักษะทางคณิตศาสตร์ให้แก้ลูกตั้งแต่เขายังไม่เข้าโรงเรียน
- สิ่งง่าย ๆ ที่ท่านควรจะเริ่มต้นฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ให้แก่ลูก คือการคาดคะเน หรือการเดาอย่างมีเหตุผล หรือภาษาทางคณิตศาสตร์เรียกว่าการประมาณค่า ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าในการไปจับจ่ายซื้อของ การเดินทางการหุงหาอาหาร ทำความสะอาดบ้าน การกินอยู่หลับนอน การประกอบอาชีพ ฯลฯ เรียกได้ว่าการประมาณค่าจะมีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้องในทุกอย่างก้าวของชีวิต ในฐานะผู้ใหญ่เราอาจใช้การประมาณค่าสูงถึง 80 % แทนการคิดคำนวนที่ต้องคิดอย่างถูกต้องด้วยวิธีคำนวนหรือด้วยเครื่องคิดเลข
- เมื่อการประมาณค่าเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตท่านจะช่วยลูกหลานของท่านให้มีทักษะด้านนี้ได้อย่างไรแม้ว่าโรงเรียนจะสอนเรื่องการประมาณค่า แต่ท่านสามารถเริ่มต้นได้ที่บ้านก่อนลูกเข้าโรงเรียน เมื่อใดก็ตามที่สถานการณ์อำนวยท่านสามารถเริ่มได้ทันที เช่นที่โต๊ะอาหาร มีทอดมันในจาน 8 ชิ้นพ่อแม่ ลูกอีก2 คน จะได้รับประทานคนละกี่ชิ้น หรือไปซื้อของที่ตลาดสด หรือติดแอร์ก็ตาม มีเงินไป 200 บาท เมื่อดูราคาของแล้วจะได้อะไรมาบ้างจึงจะพอดีกับเงินหรือไปรับประทานอาหารนอกบ้านมีเงินไป 500 บาท ดูรายการอาหารแล้วจะสั่งอะไรได้บ้าง เป็นต้น ได้มีการศึกษาค้นคว้าหลายเรื่อง เกี่ยวกับเรื่องเด็กและการประมาณค่า พอสรุปได้ดังนี้
ถ้าไม่มีการสอนและฝึกอบรมในเรื่องนี้ เมื่อถูกกำหนดให้ทำการประมาณค่าเด็กจะทำไม่ได้หรือได้ไม่ดี
ในชีวิตประจำวัน จะต้องกระตุ้นเด็กอยู่เสมอให้เห็นประโยชน์ของการประมาณค่า
การสอนและฝึกปฏิบัติอยู่เป็นประจำ เด็กจะสามารถประมาณได้อย่างรวดเร็ว
เด็กจะสนุกกับการประมาณค่า เมื่อเขาตระหนักถึงความสำคัญและได้เรียนรู้เทคนิดของการประมาณค่า
- ในห้องเรียนนั้นเวลาส่วนใหญ่จะใช่ไปในการคำนวนคำตอบที่ถูกต้อง ไม่มีการคำนวนคำตอบที่ใกล้เคียง ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่พ่อแม่มีส่วนช่วยเติมเต็มได้ ในชีวิตจริงเราใช้การประมาณค่ามากกว่าการหาค่าที่ถูกต้องดังกล่าวแล้วข้างต้น พ่อแม่จึงควรเสริมแรงด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดา การคาดคะเนอย่างสมเหตุควบคู่ไปกับการคำนวณคำตอบที่ถูกต้อง
- ก่อนที่เด็กจะนับเป็น เขาสามารถที่จะคาดคะเนหรือประมาณค่าได้แล้วจากการเล่น เช่น การตักทรายใส่กระป๋อง หรือการกระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง การหยิบดินสอนสีใส่กล่อง เป็นต้น เมื่อเขาเติบโตขึ้นเขาก็จะสามารถประมาณค่าจำนวนของสิ่งต่าง ๆ ในโลกได้อย่างใกล้เคียง พ่อแม่สามารถช่วยลูกให้เป็นนักประมาณค่าที่ดีโดยใช้ประสบการณ์การประมาณค่าของท่านเองคุยกับลูก เช่น ขณะที่ไปซื้อของหรือดูโฆษณาราคาของในหนังสือพิมพ์ว่าของสิ่งใดแพงหรือถูกกว่ากันเท่าไร ควรซื้ออย่างไหน เพราะอะไร หรือดูประกาศรับสมัครพนักงานว่าได้ค่าจ้างต่อเดือนเท่าไร ประมาณค่าดูว่าปี หนึ่งนายจ้างจะต้องเสียค่าจ้างเท่าไร เป็นต้น
การได้เรียนรู้เทคนิคการประมาณค่า จะยังประโยชน์หลายสถานแก่เด็กของท่านดังนี้
เนื่องจากมีการใช้เครื่องคิดเลขอย่างแพร่หลายในปัจจุบันทักษะการประมาณค่ายิ่งมีความสำคัญ มากขึ้นการประมาณค่าจะช่วยให้เด็กตระหนักถึงคำตอบที่ผิดพลาดที่ปรากฏบนเครื่องคิดเลขได้ ความตระหนักในการประมาณค่าที่เด็กใช้อยู่บ่อย ๆ ในชีวิตประจำวันจะช่วยให้เด็กเห็นประโยชน์ ของวิชาคณิตศาสตร์ ทักษะในการประมาณค่าจะช่วยทักษะในการคิดคำนวณให้ดีขึ้น โดยช่วยเด็กให้ประมาณค่าคำ ตอบได้อย่างมีเหตุผล กระบวนการประมาณค่าเกี่ยวข้องกับเทคนิคการแห้ปัญหาอย่างใกล้ชิด ขณะที่เด็กมีทักษะในการ ประมาณค่าสูงขึ้น เด็กจะพัฒนาในด้านกระบวนการคิดด้วย เมื่อเด็กรู้สึกคล่องกับกระบวนการ แล้วเด็กจะชอบประมาณค่า หน้าที่ของพ่อแม่คือช่วยให้เขาได้ พัฒนาเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
- ถ้าท่านต้องการจะช่วยให้เด็กของท่านพัฒนาทักษะด้านการประมาณ ท่านควรปฏิบัติดังนี้
- ฉวยโอกาสประมาณค่าในทุก ๆ กรณีแล้วแลกเปลี่ยนประสบการณ์และกระบวนการคิดกับเด็กของท่านเด็กของท่านก็จะได้ประโยชน์จากการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับวิธีการที่เขาได้ประมาณค่านั้น ท่านต้องเปิดใจและพร้อมที่ถกเถียงปัญหากับเขา ตัวท่านเองอาจจะได้เทคนิคใหม่ ๆ เกี่ยวกับการประมาณค่าเพิ่มขึ้นอีกก็ได้
ที่มา : ทัศนีย์ สงวนสัตย์, วารสาร สสวท. ปีที่ 25 ฉ. 96 มกราคม - มีนาคม 2540
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)